|
|
|
การขยายเขตไฟฟ้า ปัจจุบันมีไฟฟ้าใช้เกือบทุกครัวเรือน คิดเป็น 99 เปอร์เซ็นต์ ปัญหาคือไฟฟ้า ส่องสว่างทางหรือที่สาธารณะ ยังไม่สามารถดำเนินการครอบคลุมพื้นที่ได้ทั้งหมด เนื่องจากพื้นที่ที่มีความต้องการให้ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง นั้นมีจำนวนมาก ทำให้หม้อแปลงของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ไม่สามารถรองรับกระแสไฟฟ้าจากการติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างทางหรือที่สาธารณะ
ได้ทั้งหมดจึงไม่สามารถติดตั้งได้ทุกจุด ได้ครอบคลุมพื้นที่ที่มีความเสี่ยงหรือมีความต้องการได้ |
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลจึงไม่สามารถดำเนินการได้ เช่นเดียวกับถนน การแก้ปัญหาคือ ประสานความร่วมมือกันในหลายๆ ฝ่าย เพื่อที่จะทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ และวิธีการที่จะดำเนินการแก้ไขอย่างไร ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลก็ได้ตั้งงบประมาณในส่วนนี้ไว้แล้ว และได้แจ้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน ได้รับทราบถึงเหตุผลเพื่อที่จะได้ช่วยกันแก้ไขปัญหา
ให้กับหมู่บ้าน ปัจจุบันในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลมีไฟฟ้าใช้ ดังนี้ |
|

 |
จำนวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้า 3,683 หลังคาเรือน |

 |
ไฟฟ้าสาธารณะ จำนวน 502 จุด |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
โทรศัพท์ |

 |
จำนวนโทรศัพท์สาธารณะในเขตพื้นที่ |
จำนวน |
20 |
หมายเลข |

 |
จำนวนชุมสายโทรศัพท์ (จำนวน 1 ชุมสาย) |
จำนวน |
250 |
เลขหมาย |

 |
หอกระจายข่าวในพื้นที่ให้บริการได้ครอบคลุมร้อยละ 100 ของพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบล |
ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง และวัสดุ ครุภัณฑ์ |

 |
ที่ทำการไปรษณีย์ (ชั่วคราว) จำนวน 1 แห่ง ให้บริการเวลา 08.30–16.00 น. ในวันจันทร์–เสาร์ (วันเสาร์ครึ่งวัน) หยุดวันอาทิตย์ |
|
|
|
|
|
การประปา องค์การบริหารส่วนตำบล ได้ถ่ายโอนการดำเนินการกิจการประปาให้กับหมู่บ้าน ในพื้นที่บริหารเอง สามารถให้บริการได้ครอบคลุมเกือบทุกหลังคาเรือน คิดเป็น 99 เปอร์เซ็นต์ และมีน้ำใช้ตลอดทั้งปี ปัญหาคือ เรื่อง น้ำประปาขุ่นบ่อยครั้ง สาเหตุเนื่องจากเป็นท่อประปาเก่า เกิดการตกตะกอนของน้ำ และไม่มีแหล่งน้ำดิบในการผลิตประปา อีกทั้งยังไม่สามารถที่จะผลิตเป็นน้ำประปาสำหรับบริโภคได้ ต้องใช้งบประมาณสูงมากในการดำเนินการ ปัจจุบันยังไม่ |
|
|
|
ประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำ สามารถที่จะจัดหาน้ำดิบสำหรับผลิตประปา ให้หมู่บ้านได้ การแก้ปัญหาคือการพิจารณาโครงการต่างๆ ที่ไม่สามารถดำเนินการได้นั้น เช่น โครงการก่อสร้าง โรงสูบจ่ายสารเคมี และเก็บสารเคมีการประปา ฯลฯ องค์การบริหารส่วนตำบลก็ได้นำบรรจุในแผนพัฒนาสามปี เพื่อที่จะพิจารณาดำเนินการในปีต่อไป เมื่อมีงบประมาณ และความจำเป็นก็สามารถดำเนินโครงการได้ต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนต่อไป ปัจจุบันประชาชนมีประปาใช้ ดังนี้ |
|

 |
จำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปา 3,646 หลังคาเรือน |

 |
จำนวนประปาหมู่บ้าน จำนวน 9 แห่ง (ม.2,4,5,7,9,10,11,12,13) |

 |
ปริมาณการใช้น้ำประปาเฉลี่ย 500 – 600 ลบ.ม./วัน |

 |
แหล่งน้ำดิบที่ใช้ผลิตน้ำประปาได้จาก |
|

 |
แม่น้ำป่าสัก |
|

 |
สระน้ำ (แหล่งน้ำผิวดิน) |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การพาณิชย์ |

 |
ธนาคาร (ธ.ก.ส.) |
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
สถานีบริการน้ำมัน (ปั๊มหลอด) |
จำนวน |
31 |
แห่ง |

 |
บริษัท |
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
สถานีบริการน้ำมัน (ปั๊มหยอดเหรียญ) |
จำนวน |
4 |
แห่ง |

 |
ร้านค้าต่างๆ |
จำนวน |
125 |
แห่ง |
|
|
|